กล้วยกวน

ประเภทอาหาร : อาหารหวาน

ชนิดกล้วยทำมาปรุง : กล้วยน้้าหว้า

ส่วนประกอบของกล้วยที่นำมาปรุง : ผล ประวัติ/ความเชื่อ/ความเป็นมาของอาหาร/ พื้นที่ที่ผลิตอาหาร

          เนื่องจากประชากรในพื้นที่ บ้านขอนสองสลึง ได้มีการปลูกกล้วยไว้รับประทาน และใช้สอยเป็นจ้านวนมาก อยู่มาวันหนึ่ง มีพ่อค้า มารับซื้อกล้วยน้้าว้า ในราคาหวีละ 50 สตางค์ โดย มัดจ้าเงินไว้บางส่วนแต่ไม่กลับมาตัด ท้าให้กล้วยเน่า เสีย จึงได้เกิดความคิดในการรวมกลุ่มของคนในชุมชนที่สนใจในการแปรรูปกล้วย เพื่อเพิ่มมูลค่าและใช้กล้วยให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ในการถนอมอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการและเก็บไว้บริโภคได้ในระยะยาว เป็นการสร้าง รายได้เสริมให้ครัวเรือน ต่อมาพัฒนาชุมชนอ้าเภอและเกษตรอ้าเภอ ได้เข้ามาร่วมกันสนับสนุนการด้าเนินงาน โดยการจัดตั้งกลุ่ม ขึ้นในปี 2535 มีสมาชิก 16 คน มีการระดมหุ้น คนละ 100 – 500 บาท มีเงินทุน 3,500 บาท (ปัจจุบัน 30,000 บาท) และได้น้าสมาชิกกลุ่มไปศึกษาดูงานในการแปรรูปผลิตภัณฑ์กล้วย ที่จังหวัดพิจิตร และไปดูการท้ากล้วยตาก ที่อ้าเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก เพื่อเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่าง ๆ ให้มีคุณภาพและพัฒนาบรรจุ ภัณฑ์ให้สวยงาม จากนั้นกลุ่มได้มีการผลิตกล้วยตาก มะขามแก้ว กล้วยฉาบ กล้วยอบเนย มะม่วงแผ่น เพิ่มจาก ผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิม คือ กล้วยกวนเพียงอย่างเดียว

ขอบคุณข้อมูลจาก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

#สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดพิษณุโลก
#PRD4 


image รูปภาพ
image
image
image

Line

คะแนนโหวต :
StarStarStarStarStar